วันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

เมทริกซ์ (Matrix)


1.    สัญลักษณ์ของเมทริกซ์ 
กลุ่มของจำนวนถูกเขียนเรียงเป็นแถว ละเท่า กัน จะถูกล้อมรอบด้วยวงเล็บใหญ่ [ ] หรือวงเล็บเล็ก ( )  เราเรียกสัญลักษณ์ดังกล่าวว่า เมริกซ์ เช่น   
 
หรือ 






โดยทั่วไปเรานิยมเขียนเมทริกซ์ m ×

2.    การเท่ากันของเมทริกซ์
เมทริกซ์ A และ จะเท่ากันก็ต่อเมื่อ มีมิติเดียวกัน และสมาชิกที่อยู่ในตำแหน่งเดียวกันมีค่าเท่ากัน  นั่นคือ
A = B ก็ต่อเมื่อ  a11 = b11 , a12 = b12  เป็นต้น
ตัวอย่าง  กำหนดให้


A = B ก็ต่อเมื่อ x= 1 และ  y = 4 นั่นเอง



3.    ทรานสโพสเมทริกซ์
At  แทน ทรานสโพสเมทริกซ์  คือเมทริกซ์ที่เกิดจากการนำสมาชิกใน
เมทริกซ์A มาเปลี่ยนจากแถวเป็นหลักตามลำดับ
ถ้า   A = [aij]mxn   จะได้ At = [aji]nxm   นั่นคือ การเปลี่ยนแถวเป็นหลักนั่นเอง

4.    เมตริกซ์เอกลักษณ์
In  แทนเมตริกซ์เอกลักษณ์มิติ n x n  เช่น

จะเห็นว่า
 I11  = 1                            I12  = 0         I13  = 0  
 I21  = 0                           I22  = 1         I23  = 0  
I31  = 0                            I32  = 0               I33  = 1
นั่นคือ เมื่อ Iij ; i = j จะมีค่าเป็น 1  และเมื่อ  Iij ; iจะมีค่าเป็น 0

5.    การบวกเมทริกซ์

ถ้า A = [aij]mxn    และ B = [bij]mxn
                       
                          A+ B = [aij   + bij ]mxn

ตัวอย่าง  ให้  
               
             
             
จากตัวอย่างจะพบว่า 




6.    การคูณเมทริกซ์ด้วยสเกลาร์
สเกลาร์  คือ จำนวนจริง ให้ = c  
        ถ้า     A = [aij]mxn
                cA = [caij]mxn

กำหนดเมทริกซ์ A = (a_{i,j})_{m \times n} และจำนวน c เราสามารถนิยาม ผลคูณสเกลาร์ cA ว่าเป็นเมทริกซ์ขนาด m \times n ที่คำนวณโดยการนำ c ไปคูณสมาชิกแต่ละตัวของ A กล่าวคือ หาก B = (b_{i,j})_{m \times n} = cA แล้ว bi,j = cai,j
ยกตัวอย่างเช่น

2
  \begin{bmatrix}
    1 & 8 & -3 \\
    4 & -2 & 5
  \end{bmatrix}
=
  \begin{bmatrix}
    2\times 1 & 2\times 8 & 2\times -3 \\
    2\times 4 & 2\times -2 & 2\times 5
  \end{bmatrix}
=
  \begin{bmatrix}
    2 & 16 & -6 \\
    8 & -4 & 10
  \end{bmatrix}



7.    การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์

Amxp  Bqxn        =      Cmxn

ต้องเท่ากับ  q  จึงจะคูณได้
 อธิบาย 

ถ้า A = (a_{i,j})_{m \times n} และ B = (b_{i,j})_{n \times p} เป็นเมทริกซ์สองเมทริกซ์โดยที่จำนวนหลักของ A เท่ากับจำนวนแถวของ B แล้ว เราสามารถนิยาม ผลคูณ AB ว่าเป็นเมทริกซ์ C = (c_{i,j})_{m \times p} โดยที่
c_{i,j} = a_{i,1} b_{1,j} + a_{i,2} b_{2,i} + \cdots + a_{i,n} b_{n,i} = \sum_{k=1}^n a_{i,k} b_{k,j}
กล่าวคือสมาชิกในแถว i หลัก j ของผลคูณ AB คำนวณได้จากการนำสมาชิกของหลัก i ของ A และสมาชิกของคอลัมน์ B ในตำแหน่ง "เดียวกัน" มาคูณกัน แล้วนำผลคูณทั้ง n ผลคูณนั้นมาบวกกัน
ปฏิบัติการนี้อาจทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นถ้ามองเมทริกซ์เป็นเวกเตอร์ของเวกเตอร์ โดยถ้าเราให้ a_i = (a_{i,1}, a_{i,2}, \ldots, a_{i,n}) เป็นเวกเตอร์ที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกในแถว i ของ A และให้ b_j = (b_{1,j}, b_{2,j}, \ldots, b_{n,j}) เป็นเวกเตอร์ที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกในหลัก j ของ B แล้ว เราจะได้ว่า c_{i,j} = a_i \cdot b_j เมื่อ a_i \cdot b_j คือผลคูณจุดของ ai และ bj เช่น
ให้  A = 
  \begin{bmatrix}
    a_{1,1} & a_{1,2} & a_{1,3}\\
    a_{2,1} & a_{2,2} & a_{2,3} \\
  \end{bmatrix} = 

  \begin{bmatrix}
    a_1 \\
    a_2 \\
  \end{bmatrix} และ B = 
  \begin{bmatrix}
    b_{1,1} & b_{1,2} \\
    b_{2,1} & b_{2,2} \\
    b_{3,2} & b_{3,2} \\
  \end{bmatrix} = 

  \begin{bmatrix}
    b_1 & b_2 \\
  \end{bmatrix}
แล้ว  A \times B = 

  \begin{bmatrix}
    a_1 \cdot b_1  &  a_1 \cdot b_2 \\
    a_2 \cdot b_1  &  a_2 \cdot b_2 \\
  \end{bmatrix}
และ










อ้างอิง
http://th.wikipedia.org/wiki
www.tutormaths.com/mathapa10.doc

2 ความคิดเห็น: